Topic List

Submitted by kadocom on 17-12-55 14.27

ความสามารถในการจัดการอาการอยากยาในขณะบำบัดรักษาของผู้ป่วยยาเสพติดในศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดในเขตภาคใต้นางนุรินยา แหละหมัด, นางดารารัตน์ สาธรพันธ์, น.ส.อ้อมเดือน บุญญามณี,นางวราลักษณ์ วงศราวิทย์, นายสยาม มุสิกะไชย

Submitted by kadocom on 17-12-55 14.25

ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนของครอบครัว และการกำกับตนเองเพื่อการเลิกยาเสพติดของผู้ป่วยยาเสพติด: กรณีศึกษาในศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดภาคใต้นายอนุพงศ์ จันทร์จุฬานางสุดใจ พันธุ์ภักดีนางสินี วงษ์โสพนากุลนางนวลจันทร์ โอทอง

Submitted by kadocom on 17-12-55 14.23

การสนับสนุนของพยาบาลและการปฏิบัติของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติดนางนุรินยา แหละหมัด, นางดารารัตน์ สาธรพันธ์, น.ส.อ้อมเดือน บุญญามณี,นางวราลักษณ์ วงศราวิทย์, นายสยาม มุสิกะไชย

Submitted by kadocom on 16-1-55 16.06

การกำกับตนเอง เพื่อการเลิกยาเสพติดของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดภาคใต้

Submitted by kadocom on 16-1-55 11.59

ความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรคในสถานการณ์ความเสี่ยงต่อการเสพซ้ำของผู้ป่วยยาเสพติดรูปแบบผู้ป่วยนอกในศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด

Submitted by kadocom on 16-1-55 09.54

การประเมินการเสพยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยระยะติดตามผล ของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดสงขลาโดยการตรวจสารเสพติดในเส้นผม

Submitted by kadocom on 16-1-55 08.42

ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเสพยาเสพติดซ้ำของผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดรักษารูปแบบจิต  สังคมบำบัด แบบผู้ป่วยนอก ในสถานพยาบาล 11 จังหวัดภาคใต้

Submitted by kadocom on 12-1-55 10.08

บทคัดย่อ เรื่องการพัฒนาแบบวัดคุณภาพชีวิตของผู้ติดเฮโรอีน ยาบ้า และกัญชา

Submitted by kadocom on 5-8-54 09.17

สบท. ชี้ชัด ผู้ใช้มือถือไทยกว่า 60% วางมือถือไว้หัวนอน เสี่ยงเนื้องอก 24 ชั่วโมงย้ำข้อมูลมะเร็งของฮูนพ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศาผู้อำนวยการสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมหรือ สบท. เปิดเผยว่า ผลสำรวจของ สบท.ที่ร่วมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หรือเอแบคโพลล์ พบว่าคนไทยมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเป็นเนื้องอกในสมอง โดยได้รับคลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าของโทรศัพท์เคลื่อนที่แม้ไม่ได้ใช้งาน จากพฤติกรรมนิยมวางโทรศัพท์มือถือไว้ที่หัวเตียงพร้อมกับเปิดเครื่องไว้ในเวลานอนสูงถึง 64.5%ผลสำรวจดังกล่าวสอดคล้องกับข้อ

Submitted by kadocom on 1-6-54 10.51

"บุหรี่" ใครจะรู้ว่ามันเป็นภัยร้ายใกล้ตัว ที่ผ่านมาโครงการรณรงค์ต่างๆมักให้ความรู้อยู่เป็นประจำว่าสามารถทำให้เกิดโรคได้สารพัดโรคตั้งแต่โรคในช่องปาก ฟันผุ ถุงลมโป่งพอง มะเร็งปอด เป็นต้น นอกจากที่เจ้าตัวผู้สูบจะป่วยแล้วยังเป็นผู้นำโรคร้ายไปสู่คนใกล้ชิดอีกด้วย"บุหรี่มือสอง" ที่เรียกว่า ผู้ที่ไม่ได้สูบแต่ได้รับกลิ่นก็ต้องได้รับโรคร้ายไปโดยปริยาย แม้ว่าจะมีการรณรงค์กันมาอย่างต่อเนื่องทั้งปี สถิติผู้สูบดูเหมือนจะไม่ลดลงแถมขยายกลุ่มไปสู่ผู้หญิงและเด็กด้วยซ้ำไป "31 พฤษภาคม" และทุกวันที่ ของทุกป

นายแพทย์ธวัช ลาพินี ผู้อำนวยการโรงพยาบาล